ปัจจุบันสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในสหรัฐอเมริกาและทั่วโลกกำลังเข้าขั้นวิกฤตและมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเมื่อวันที่ 16 ธันวาคมที่ผ่านมา U.S. FDA หรือ องค์การอาหารและยาสหรัฐ ได้มีประกาศให้อนุมัติใช้อุปกรณ์ตรวจโควิดด้วยตัวเองที่บ้าน โดยไม่จำเป็นต้องใช้ใบสั่งแพทย์เพื่อการฉุกเฉินครั้งแรก ซึ่งผู้ใช้จะทราบผลลัพธ์ได้ภายในไม่กี่นาที
Boontharika Boonchaisaen
Boontharika Boonchaisaen
จบการศึกษาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาเภสัชกรรมคลินิก จาก ม.มหาสารคาม จบวุฒิบัตรด้านการเตรียมผสมยาเคมีบำบัดและบริบาลผู้ป่วยมะเร็งจากคณะเภสัชศาสตร์ ม.ขอนแก่น และได้รับประกาศนียบัตรด้านการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด(วาร์ฟาริน)จากรพ.ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ รวมถึงเคยมีผลงานการเขียนเล่าเรื่องทางการแพทย์(Narrative medicine) ลงวารสารมูลนิธิ รพ.สมเด็จพระยุพราชแห่งประเทศไทย
-
-
Drug informationExperienceHealth
ทำอย่างไรดี? เมื่อลืมรับประทานยาคุมกำเนิด หรือเริ่มรับประทานแผงใหม่ช้า
อีกหนึ่งคำถามยอดฮิตของสาวๆ ที่หลายคนส่งข้อความมาถามกันหลังไมค์นั้นคงหนีไม่พ้นเรื่องการรับประทานยาคุมกำเนิด ไม่ว่าจะเป็นยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม, ฮอร์โมนเดี่ยว หรือแม้แต่ยาคุมฉุกเฉิน ล้วนแต่มีวิธีการรับประทานที่แตกต่างกันไป ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเรื่องที่สาวๆทั้งหลาย หรือแม้แต่หนุ่มๆเองก็ควรศึกษาไว้เป็นความรู้ เพราะการคุมกำเนิดนั้นไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลย หลายๆประเทศรวมถึงไทยเอง ต่างพบว่าสถิติหรืออัตราการตั้งครรภ์โดยไม่ได้ตั้งใจนั้น เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยสาเหตุหนึ่งอาจเนื่องมาจากประชาชนไม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการคุมกำเนิดนั่นเอง
-
เนื่องจากมีข่าวการเสียชีวิตของเด็กหญิง ป.5 รายหนึ่งที่เสียชีวิตหลังจากได้รับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ทำให้หลายคนอาจจะเพิ่งทราบว่ามีวัคซีนชนิดนี้อยู่ด้วยหรอ วันนี้แอดมินจึง มีความรู้ดีๆเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก มาฝากกันจ้า..
-
ปัญหาที่มักจะพบบ่อยอีกหนึ่งเรื่องเกี่ยวกับการรับประทานยาของผู้ป่วย คือ รับประทานยาไม่ตรงเวลา หรือลืมรับประทานยานั่นเอง เพราะบางคนอาจจะเกิดความสับสนว่า ยาก่อนอาหาร, หลังอาหาร หรือยาที่ต้องรับประทานก่อนนอน ควรทานเวลาไหนดี? ต้องทานก่อนหรือหลังอาหารกี่นาทีกันแน่? และอาจจะสงสัยว่าถ้าลืมทานยาควรทำยังไง? นอกจากนี้ยังมีคนไข้บางราย แก้ปัญหาการลืมทานยาของตนเอง ด้วยการนำยาทุกตัวมารับประทานเวลาเดียวกันทั้งหมด เช่น ยาก่อนนอน นำมารับประทานตอนเช้า พร้อมกับยาตัวอื่นๆ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้น…
-
COVID19Drug informationExperienceHealth
ยาบำรุงเลือดเสริมธาตุเหล็ก ทำไมแพทย์สั่งให้รับประทานก่อนนอน และหากรับประทานแล้วคลื่นไส้อาเจียนควรทำอย่างไร
ช่วงนี้เห็นหลายรพ.ประกาศรับบริจาคเลือด เนื่องจากคลังเลือดกลางของโรงพยาบาลหลายแห่ง กำลังขาดแคลนเลือดสำรอง ซึ่งเป็นผลกระทบจากภาวะโควิด-19 ดังนั้นหลายคนอาจไปบริจาคเลือดกันมา ซึ่งหลังจากบริจาคเลือด แพทย์มักจะสั่งยาบำรุงเลือดเสริมธาตุเหล็กให้กลับมารับประทานที่บ้าน แต่หลังจากรับประทานแล้ว บางคนอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนตามมาได้ จึงเกิดความกังวลและสงสัยว่าควรหยุดยาหรือรับประทานต่อดี วันนี้ทีมงานอยู่กับยาจะมาไขข้อสงสัยให้ได้ทราบกันค่ะ
-
Drug informationExperienceHerbNutrition
เพราะเหตุใด? ผู้ป่วยที่รับประทานยาวาร์ฟารินจึงไม่ควรดื่มนมถั่วเหลือง
บทความก่อนหน้าเคยเขียนอธิบายเกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยาวาร์ฟารินไปแล้ว แต่นอกจากจะต้องระวังเรื่องการรับประทานยา อาหารและอาหารเสริมต่างๆ ที่อาจเกิดอันตรกิริยากับยาวาร์ฟาริน ผู้ป่วยเหล่านี้ยังต้องระวังเรื่องการรับประทานนมอีกด้วย ซึ่งนมประเภทที่ควรระวังนั้นก็คือ นมถั่วเหลือง หรือ Soy milk นั่นเองค่ะ
-
COVID19ExperienceHealthNewsroom
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ควรเก็บรักษาอย่างไร และ มีอายุการใช้งานนานเท่าไหร่
ในสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 อยู่ ณ ขณะนี้ สิ่งที่หลายคนน่าจะพกติดตัวไปด้วยทุกที่ คงจะหนีไม่พ้นเจลแอลกอฮอล์ เพื่อใช้สำหรับล้างมือหลังสัมผัสสิ่งของหรือวัตถุต่างๆ และมีแฟนเพจบางท่านอาจจะสงสัยว่าซื้อมาแล้วควรเก็บรักษาอย่างไรดี? และหลังเปิดใช้งานแล้ว จะมีอายุการใช้งานนานเท่าไหร่? ซึ่ง ทีมงานได้ไปหาคำตอบ มาไขข้อสงสัยให้ได้ทราบแล้วค่ะ
-
COVID19Drug informationHealthNewsroom
จีนอนุมัติให้ยา Favilavir หรือ Favipiravir เป็นยาต้านไวรัสCOVID-19 ตัวแรก
ข่าวดีของวงการแพทย์โลก เมื่อสำนักงานบริหารผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์แห่งชาติของจีนได้ให้การรับรองยาต้านไวรัสFavilavir (ฟาวิลาเวียร์) และนับเป็นยาต้านไวรัส COVID-19 ตัวแรกที่ได้รับอนุมัติอย่างเป็นทางการ
-
COVID19HealthNewsroom
หน่วยงานสาธารณสุขฝรั่งเศสเตือนยาต้านการอักเสบ(Anti-inflammatory drugs) อาจทำให้อาการของโรคโควิด-19แย่ลง
เมื่อวันที่ 17 มีนาคมที่ผ่านมา เว็บไซต์ Medscape รายงานว่า หน่วยงานสาธารณสุขฝรั่งเศสเตือนยาต้านการอักเสบ(Anti-inflammatory drugs) หรือยากลุ่ม NSAIDs (์Nonsteroidal anti-inflammatory drugs) ยกตัวอย่างเช่น ยา Ibuprofen อาจทำให้อาการของโรคโควิด-19 แย่ลง และแนะนำว่า ควรใช้ยา Acetaminophen…
-
ApplicationCOVID19HealthNewsroom
แอป NOSTRA Map แนะนำพิกัด 18 รพ. ตรวจหาเชื้อกลุ่มเสี่ยงไวรัส COVID-19
ปัจจุบันประเทศไทยมีขั้นตอนในการตรวจหาเชื้อ COVID-19 คือใช้การตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อ (RT-PCR) จากโดยวิธีจิ้มจมูก หรือ Nasopharyngeal swab และการป้ายคอ หรือ Throat swab ซึ่งการตรวจหาเชื้อ COVID-19 ด้วย 2 วิธีนี้ จำเป็นต้องไปตรวจที่รพ.เท่านั้น และบางคนอาจยังไม่ทราบว่า ต้องไปตรวจหาเชื้อที่รพ.ไหน และไปอย่างไรดี…