ปัจจุบันสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในสหรัฐอเมริกาและทั่วโลกกำลังเข้าขั้นวิกฤตและมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเมื่อวันที่ 16 ธันวาคมที่ผ่านมา U.S. FDA หรือ องค์การอาหารและยาสหรัฐ ได้มีประกาศให้อนุมัติใช้อุปกรณ์ตรวจโควิดด้วยตัวเองที่บ้าน โดยไม่จำเป็นต้องใช้ใบสั่งแพทย์เพื่อการฉุกเฉินครั้งแรก ซึ่งผู้ใช้จะทราบผลลัพธ์ได้ภายในไม่กี่นาที
Newsroom
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ควรเก็บรักษาอย่างไร และ มีอายุการใช้งานนานเท่าไหร่
ในสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 อยู่ ณ ขณะนี้ สิ่งที่หลายคนน่าจะพกติดตัวไปด้วยทุกที่ คงจะหนีไม่พ้นเจลแอลกอฮอล์ เพื่อใช้สำหรับล้างมือหลังสัมผัสสิ่งของหรือวัตถุต่างๆ และมีแฟนเพจบางท่านอาจจะสงสัยว่าซื้อมาแล้วควรเก็บรักษาอย่างไรดี? และหลังเปิดใช้งานแล้ว จะมีอายุการใช้งานนานเท่าไหร่? ซึ่ง ทีมงานได้ไปหาคำตอบ มาไขข้อสงสัยให้ได้ทราบแล้วค่ะ
จีนอนุมัติให้ยา Favilavir หรือ Favipiravir เป็นยาต้านไวรัสCOVID-19 ตัวแรก
ข่าวดีของวงการแพทย์โลก เมื่อสำนักงานบริหารผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์แห่งชาติของจีนได้ให้การรับรองยาต้านไวรัสFavilavir (ฟาวิลาเวียร์) และนับเป็นยาต้านไวรัส COVID-19 ตัวแรกที่ได้รับอนุมัติอย่างเป็นทางการ
หน่วยงานสาธารณสุขฝรั่งเศสเตือนยาต้านการอักเสบ(Anti-inflammatory drugs) อาจทำให้อาการของโรคโควิด-19แย่ลง
เมื่อวันที่ 17 มีนาคมที่ผ่านมา เว็บไซต์ Medscape รายงานว่า หน่วยงานสาธารณสุขฝรั่งเศสเตือนยาต้านการอักเสบ(Anti-inflammatory drugs) หรือยากลุ่ม NSAIDs (์Nonsteroidal anti-inflammatory drugs) ยกตัวอย่างเช่น ยา Ibuprofen อาจทำให้อาการของโรคโควิด-19 แย่ลง และแนะนำว่า ควรใช้ยา Acetaminophen หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ พาราเซตามอล ในการรักษาแทน
แอป NOSTRA Map แนะนำพิกัด 18 รพ. ตรวจหาเชื้อกลุ่มเสี่ยงไวรัส COVID-19
ปัจจุบันประเทศไทยมีขั้นตอนในการตรวจหาเชื้อ COVID-19 คือใช้การตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อ (RT-PCR) จากโดยวิธีจิ้มจมูก หรือ Nasopharyngeal swab และการป้ายคอ หรือ Throat swab ซึ่งการตรวจหาเชื้อ COVID-19 ด้วย 2 วิธีนี้ จำเป็นต้องไปตรวจที่รพ.เท่านั้น และบางคนอาจยังไม่ทราบว่า ต้องไปตรวจหาเชื้อที่รพ.ไหน และไปอย่างไรดี วันนี้ทีมงานอยู่กับยาได้มีแอปพลิเคชันดีๆมาแนะนำ เพื่อให้การเข้าถึงรพ.ที่สามารถตรวจหาเชื้อCOVID-19 ได้ง่ายยิ่งขึ้น
จริงหรือไม่ ? หากป่วยเป็นมะเร็ง ไม่ควรรับประทานเนื้อสัตว์
คำถามที่มักจะได้ยินจากคนไข้มะเร็งบ่อยๆ อีกหนึ่งคำถามคือ … คนไข้มะเร็งทานเนื้อสัตว์ได้มั้ยคะคุณหมอ? และวันนี้ทีมงานอยู่กับยาจะมาตอบปัญหาดังกล่าว ให้หายสงสัยไปพร้อมๆกันเลยค่ะ จากกรณีศึกษา.. คนไข้รายหนึ่งมาด้วยน้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐาน (BMI=15 kg/m²) เภสัชกรได้ถามคนไข้ว่า “คุณลุงกินอาหารไม่ได้หรอคะ ทำไมน้ำหนักน้อยจัง?” คนไข้และญาติจึงตอบกลับมาว่า “ก็กินได้ปกตินะ แต่น้ำหนักไม่ขึ้นเลย”
เบาหวานในเด็กเพิ่มมากขึ้น อาจมีสาเหตุจากการบริโภคหวาน และขนมในโรงเรียน
หากใครติดตามข่าวด้านการแพทย์และสุขภาพ น่าจะพอผ่านตาสำหรับข่าวที่ รพ.จุฬาฯ เปิดเผยข้อมูลที่น่าตกใจ เนื่องจากพบว่า…
FDA อนุมัติให้ Talicia เป็นยารักษาแผลในกระเพาะอาหารที่ติดเชื้อ H. Pylori
โรคกระเพาะอาหาร เป็นอีกหนึ่งโรคยอดฮิตของทุกเพศ ทุกวัย โดยผู้ป่วยมักมีอาการปวดท้องกลางท้องช่วงบน ลักษณะการปวดคือรู้สึกปวดแน่น หรือแสบร้อนสัมพันธ์กับมื้ออาหาร เช่น หลังรับประทานอาหารอาการปวดท้องจะดีขึ้นหรือแย่ลง บางคนมีอาการอิ่มง่าย อิ่มเร็ว ระยะเวลาของการปวดอาจเป็นวันหรือเป็นเดือน หรือมีลักษณะเป็นๆหายๆ ส่วนใหญ่ไม่รุนแรง แต่ถ้าปล่อยให้เป็นเรื้อรังจนเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เลือดออกที่กระเพาะอาหาร, กระเพาะอาหารทะลุ, กระเพาะอาหารอุดตัน, มะเร็งกระเพาะอาหาร ผู้ป่วยก็อาจเสียชีวิตได้
ทำไมยาอาปราคัวร์ Apracur จึงควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
วันก่อนมีแฟนเพจสอบถามมาเกี่ยวกับข้อควรระวังที่เขียนบนฉลากช่วยยาอาปราคัวร์ ว่าทำไมจึงไม่ควรใช้ในผู้ป่วยเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง วันนี้แอดมินจะมาไขข้อสงสัยให้ทราบกันค่ะ เผื่อมีแฟนเพจท่านอื่นอาจสงสัยคล้ายๆกับแฟนเพจท่านนี้…
ไอแคร์ เฮลท์ ฉลองก้าวเข้าสู่ปีที่ 21 เดินหน้าร้านยา 24 ชม.แห่งแรกของไทย ร่วมมือกับองค์การเภสัชกรรม จำหน่ายยาและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
ไอแคร์ เฮลท์ (ICARE Health) โดย บริษัท ไอแคร์ เฮลท์ จำกัด ผู้จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ พร้อมให้คำแนะนำโดยเภสัชกร ฉลองการก้าวเข้าสู่ปีที่ 21 ของการเป็นร้านยาคู่ชุมชนและคนไทยมาอย่างยาวนาน จัดงาน “แถลงข่าวครบรอบ 21 ปี บริษัท ไอแคร์ เฮลท์ จำกัด และการผนึกกำลังร่วมกับ องค์การเภสัชกรรม” ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) เพื่อเป็นพันธมิตรอย่างเป็นทางการขององค์การเภสัชกรรม(GPO Official Partner)…