โครงการ “คุยเรื่องไต ไขความจริง” โดยสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย เชิญ น.อ. หญิง พญ. วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี อายุรแพทย์โรคไต ประธานคณะอนุกรรมการป้องกันโรคไตเรื้อรัง มาให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคไต ในตอน “โรคไต 101” มุ่งเสริมความเข้าใจถึงสาเหตุและปัจจัยเสี่ยง อาการของโรค ตลอดจนวิธีการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันและชะลอความเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
Boontharika Boonchaisaen
Latest posts
หญิงตั้งครรภ์ สามารถฉีดวัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้น (Booster shot) ได้หรือไม่
หญิงตั้งครรภ์อาจเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำในการติดเชื้อโควิด-19 แต่หากติดเชื้อโควิด-19 แล้ว อาจทำให้อาการป่วยรุนแรงขึ้นมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ รวมถึงอาจจำเป็นต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล ซึ่งหากอาการรุนแรงมาก อาจต้องเข้ารักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตอีกด้วย นอกจากนี้การติดเชื้อโควิด-19 ในระหว่างตั้งครรภ์ยังเพิ่มความเสี่ยงของการคลอดก่อนกำหนด และส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆในระหว่างตั้งครรภ์ตามมาได้
ทำความรู้จัก Molnupiravir ยารักษาโควิด 19 ความหวังใหม่ของโลก
เมื่อต้นเดือนตุลาคมที่ผ่านมา หากใครติดตามข่าวเกี่ยวกับความคืบหน้าของการพัฒนายารักษาโควิด-19 ก็น่าจะคุ้นหูกับชื่อยาโมลนูพิราเวียร์ (Molnupiravir) กันมาบ้างแล้ว ซึ่งบางสำนักข่าวก็ให้ความเห็นว่ายานี้อาจเข้ามาเปลี่ยนโลก หรือไม่ก็อาจเข้ามาแทนที่ยาฟาวิพิราเวียร์ (Favipiravir) ซึ่งใช้รักษาโควิด-19 ในปัจจุบัน แต่จะเข้ามาเปลี่ยนโลกได้จริงหรือไม่นั้น ต้องรอติดตามข่าวกันต่อไปค่ะ
ทำไมการรับประทานฟ้าทะลายโจรจึงควรระวังในผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟาริน
ยุคโควิด19ระบาดแบบนี้ เชื่อว่าหลายครอบครัวนอกจากจะมียาพาราเซตามอลติดไว้ไม่ขาดแล้ว ยาที่จะต้องมีไว้เป็นยาประจำบ้านอีกตัว นั่นคงหนีไม่พ้น “ยาฟ้าทะลายโจร” กันอย่างแน่นอน และแอบได้ยินแว่วๆมาว่าร้านยาหลายๆร้านตอนนี้ก็ขายกันหมดเกลี้ยงไปแล้ว เพราะมักจะมีลูกค้าแวะมาเรียกหายาฟ้าทะลายโจรกันไม่เว้นแต่ละวัน…
U.S. FDA อนุมัติอุปกรณ์ตรวจโควิด-19 เองที่บ้านได้ โดยไม่ต้องใช้ใบสั่งแพทย์ครั้งแรก
ปัจจุบันสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในสหรัฐอเมริกาและทั่วโลกกำลังเข้าขั้นวิกฤตและมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเมื่อวันที่ 16 ธันวาคมที่ผ่านมา U.S. FDA หรือ องค์การอาหารและยาสหรัฐ ได้มีประกาศให้อนุมัติใช้อุปกรณ์ตรวจโควิดด้วยตัวเองที่บ้าน โดยไม่จำเป็นต้องใช้ใบสั่งแพทย์เพื่อการฉุกเฉินครั้งแรก ซึ่งผู้ใช้จะทราบผลลัพธ์ได้ภายในไม่กี่นาที
ทำอย่างไรดี? เมื่อลืมรับประทานยาคุมกำเนิด หรือเริ่มรับประทานแผงใหม่ช้า
อีกหนึ่งคำถามยอดฮิตของสาวๆ ที่หลายคนส่งข้อความมาถามกันหลังไมค์นั้นคงหนีไม่พ้นเรื่องการรับประทานยาคุมกำเนิด ไม่ว่าจะเป็นยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม, ฮอร์โมนเดี่ยว หรือแม้แต่ยาคุมฉุกเฉิน ล้วนแต่มีวิธีการรับประทานที่แตกต่างกันไป ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเรื่องที่สาวๆทั้งหลาย หรือแม้แต่หนุ่มๆเองก็ควรศึกษาไว้เป็นความรู้ เพราะการคุมกำเนิดนั้นไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลย หลายๆประเทศรวมถึงไทยเอง ต่างพบว่าสถิติหรืออัตราการตั้งครรภ์โดยไม่ได้ตั้งใจนั้น เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยสาเหตุหนึ่งอาจเนื่องมาจากประชาชนไม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการคุมกำเนิดนั่นเอง
วัคซีนมะเร็งปากมดลูก(HPV) เรื่องใกล้ตัวที่ผู้หญิงทุกคนควรรู้
เนื่องจากมีข่าวการเสียชีวิตของเด็กหญิง ป.5 รายหนึ่งที่เสียชีวิตหลังจากได้รับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ทำให้หลายคนอาจจะเพิ่งทราบว่ามีวัคซีนชนิดนี้อยู่ด้วยหรอ วันนี้แอดมินจึง มีความรู้ดีๆเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก มาฝากกันจ้า..
รับประทานยาก่อน-หลังอาหารอย่างไรดี หากลืมทานยา ควรทำอย่างไร
ปัญหาที่มักจะพบบ่อยอีกหนึ่งเรื่องเกี่ยวกับการรับประทานยาของผู้ป่วย คือ รับประทานยาไม่ตรงเวลา หรือลืมรับประทานยานั่นเอง เพราะบางคนอาจจะเกิดความสับสนว่า ยาก่อนอาหาร, หลังอาหาร หรือยาที่ต้องรับประทานก่อนนอน ควรทานเวลาไหนดี? ต้องทานก่อนหรือหลังอาหารกี่นาทีกันแน่? และอาจจะสงสัยว่าถ้าลืมทานยาควรทำยังไง? นอกจากนี้ยังมีคนไข้บางราย แก้ปัญหาการลืมทานยาของตนเอง ด้วยการนำยาทุกตัวมารับประทานเวลาเดียวกันทั้งหมด เช่น ยาก่อนนอน นำมารับประทานตอนเช้า พร้อมกับยาตัวอื่นๆ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้น เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของการทานยาให้ตรงเวลาและถูกวิธี ทีมงานอยู่กับยาจึงขอสรุปหลักการและหลักปฏิบัติที่ถูกต้องทั่วไปของวิธีการรับประทานยา ให้ได้อ่านกันในบทความนี้ค่ะ
ยาบำรุงเลือดเสริมธาตุเหล็ก ทำไมแพทย์สั่งให้รับประทานก่อนนอน และหากรับประทานแล้วคลื่นไส้อาเจียนควรทำอย่างไร
ช่วงนี้เห็นหลายรพ.ประกาศรับบริจาคเลือด เนื่องจากคลังเลือดกลางของโรงพยาบาลหลายแห่ง กำลังขาดแคลนเลือดสำรอง ซึ่งเป็นผลกระทบจากภาวะโควิด-19 ดังนั้นหลายคนอาจไปบริจาคเลือดกันมา ซึ่งหลังจากบริจาคเลือด แพทย์มักจะสั่งยาบำรุงเลือดเสริมธาตุเหล็กให้กลับมารับประทานที่บ้าน แต่หลังจากรับประทานแล้ว บางคนอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนตามมาได้ จึงเกิดความกังวลและสงสัยว่าควรหยุดยาหรือรับประทานต่อดี วันนี้ทีมงานอยู่กับยาจะมาไขข้อสงสัยให้ได้ทราบกันค่ะ
เพราะเหตุใด? ผู้ป่วยที่รับประทานยาวาร์ฟารินจึงไม่ควรดื่มนมถั่วเหลือง
บทความก่อนหน้าเคยเขียนอธิบายเกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยาวาร์ฟารินไปแล้ว แต่นอกจากจะต้องระวังเรื่องการรับประทานยา อาหารและอาหารเสริมต่างๆ ที่อาจเกิดอันตรกิริยากับยาวาร์ฟาริน ผู้ป่วยเหล่านี้ยังต้องระวังเรื่องการรับประทานนมอีกด้วย ซึ่งนมประเภทที่ควรระวังนั้นก็คือ นมถั่วเหลือง หรือ Soy milk นั่นเองค่ะ