เวลาปวดหัว ปวดขา ปวดหลัง ยาตัวแรกที่หลายคนนึกถึงคงจะหนีไม่พ้น “ยาพาราเซตามอล” แล้วถ้าหากกินพาราเซตามอลไม่หายจะทำไงดี? แพทย์ก็จะสั่งยาอีกกลุ่มให้นั่นก็คือ “ยากลุ่มแก้ปวดลดอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ หรือ NSAIDs (Non-steroidal Anti-inflammatory drugs )” เช่น ไอบรูโพเฟน ไดโคลฟีแนค หรือแม้แต่เซเลเบรค ซึ่งแพทย์อาจจะสั่งให้กินครั้ง 1-2…
Boontharika Boonchaisaen
Boontharika Boonchaisaen
จบการศึกษาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาเภสัชกรรมคลินิก จาก ม.มหาสารคาม จบวุฒิบัตรด้านการเตรียมผสมยาเคมีบำบัดและบริบาลผู้ป่วยมะเร็งจากคณะเภสัชศาสตร์ ม.ขอนแก่น และได้รับประกาศนียบัตรด้านการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด(วาร์ฟาริน)จากรพ.ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ รวมถึงเคยมีผลงานการเขียนเล่าเรื่องทางการแพทย์(Narrative medicine) ลงวารสารมูลนิธิ รพ.สมเด็จพระยุพราชแห่งประเทศไทย
-
-
เงินซื้อได้ทุกอย่าง แม้กระทั่ง “ชีวิต” คุณคิดยังไงกับประโยคนี้ เห็นด้วยหรือไม่ค่ะ?
-
Drug informationExperience
เพราะอะไรผงน้ำตาลเกลือแร่ ORS จึงไม่ให้กินครั้งเดียวหมด และผสมแล้วเก็บไว้ได้แค่วันเดียว
เคยสงสัยมั้ยว่า เวลาแพทย์สั่งผงเกลือแร่มาให้รับประทานเวลาท้องเสีย ทำไมเภสัชกรต้องแนะนำว่า ให้ผสมกับน้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว และค่อยๆจิบ ไม่ให้กินครั้งเดียวหมดแก้ว หรือแม้แต่.. ผสมแล้วอยู่ได้แค่ 1 วัน ? ถ้าสงสัยวันนี้ ทีมงานอยู่กับยา จะพาไปหาคำตอบกันค่ะ
-
เรื่องเล่าของหนุ่มสาวคู่หนึ่ง.. ที่กำลังจะทำให้คุณเห็นคุณค่าของเวลามากขึ้น ชายหนุ่มซึ่งหลงรักการสะสมนาฬิกาเป็นชีวิตจิตใจ เห็นนาฬิกาข้อมือที่ไหนสวยๆ ไม่ได้เป็นต้องซื้อเก็บไว้ทุกเรือน หลายครั้งที่แฟนสาวเตือนให้เก็บเงินไว้ซื้อของใช้ที่จำเป็นกว่า แต่เขาก็ไม่ได้สนใจฟัง.. จนอยู่มาวันหนึ่ง ฝ่ายชายไปซื้อนาฬิกามาอีกเรือน แต่เป็นเรือนที่ราคาค่อนข้างสูงพอสมควร แฟนสาวจึงรู้สึกไม่พอใจและทะเลาะกันรุนแรงกว่าทุกครั้ง
-
เวลาท้องเสีย.. หลายครั้งที่แพทย์สั่งยา Norfloxacin ให้คนไข้กลับมารับประทานที่บ้าน และเภสัชกรมักจะแนะนำคนไข้ว่า “ยาตัวนี้ ไม่ควรรับประทานพร้อมกับนม แคลเซียม ธาตุเหล็กหรือยาลดกรด” แล้วเคยสงสัยมั้ยคะว่า ทำไม? ถึงไม่ควรรับประทานพร้อมกับนม แคลเซียม ธาตุเหล็กหรือยาลดกรด วันนี้ทีมงานอยู่กับยาจะมาไขข้อข้องใจให้ทราบกันค่ะ…
-
ถ้าพูดถึงอาหารที่ทำให้โพแทสเซียมสูง หลายคนคงนึกถึง “กล้วย” แล้วใครรู้บ้างคะว่า นอกจากกล้วย ยังมีอาหารประเภทไหนบ้าง ที่รับประทานไปแล้ว ทำให้โพสแทสเซียมในร่างกายสูงได้อีก…
-
นอกจากการจ่ายยาแล้ว.. อีกหนึ่งบทบาทของเภสัชกร คือ ช่วยแพทย์หรือพยาบาลค้นหา “DRP, Drug Related Problems” หรือ ปัญหาที่เกี่ยวกับยา และปัญหาที่คุ้นเคยของเภสัชกรที่มักจะได้ค้นหานั่นก็คือ คนไข้กินยาตรงตามแพทย์สั่งหรือไม่? นอกจาการนับเม็ดยาเพื่อประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของคนไข้แล้ว อีกวิธีหนึ่งที่สามารถช่วยสังเกตหรือดูว่าคนไข้พูดความจริงหรือไม่ เพราะอาจมีบางคนที่บอกว่า กินยาทุกวันตามแพทย์สั่ง แต่ความจริงแล้วไม่ได้กินก็มี นั่นคือ “การสังเกตสีของปัสสาวะคนไข้ค่ะ” เพราะสีของปัสสาวะ…
-
เคยสงสัยไหมว่า ทำไม? บางวันตื่นขึ้นมาแล้วรู้สึกว่าเหนื่อยจัง หรือจำอะไรไม่ค่อยแม่นยำ หลงๆลืมๆ เหตุการณ์เหล่านี้ อาจเกิดจากที่คุณพักผ่อนไม่เพียงพอก็ได้…
-
“อะไรนะ พรุ่งนี้ต้องตื่นแต่เช้าไปผสมยา แค่คิดก็เหนื่อยแล้ว เฮ้อ..” เดี๋ยวก่อนนะคะ ผสมยาที่ว่านี้ไม่ใช่เอายาแต่ละตัวเทลงหม้อ แล้วคลุกๆ เหมือนผสมอาหารนะ ฮ่าๆ แต่มันคือการ “เตรียมผสมยาเคมีบำบัด หรือ ที่หลายคนรู้จักกันว่า ยารักษามะเร็ง” นั่นเองค่ะ ก่อนที่จะเล่าต่อ ขอเกริ่นความหมายของยามะเร็งให้ฟังกันก่อน เผื่อมีคนอ่านมาถึงตรงนี้แล้วงงว่ามันคือยาอะไร?
-
เคยได้ยินมั้ยคะว่า “ดวงตา” เป็นหน้าต่างของหัวใจ แน่นอนว่า หลายๆคนคงไม่อยากให้เกิดความผิดปกติใดใดกับดวงตาของตัวเอง ไม่ว่าจะเป็น การติดเชื้อที่ดวงตา หรือแม้แต่การเกิดต้อ เพราะปัญหาดังกล่าว อาจส่งผลต่อการมองเห็นของเราได้