Office syndrome (OFS) เป็นกลุ่มอาการของ myofascial pain syndrome ซึ่งเกี่ยวข้องกับอาการปวดกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อพังผืด พบได้ถึงร้อยละ 60-70 ของผู้ที่ทำงานในออฟฟิศ โดยทั่วไปมักมีอาการปวดศีรษะ คอ บ่า ไหล่ หลัง ข้อมือและนิ้ว นอกจากนี้ยังมีอาการอื่นๆ ร่วมที่อาจพบได้อีก เช่น อ่อนเพลีย เครียด และสมาธิลดลง…
NSAIDs
-
-
COVID19HealthNewsroom
หน่วยงานสาธารณสุขฝรั่งเศสเตือนยาต้านการอักเสบ(Anti-inflammatory drugs) อาจทำให้อาการของโรคโควิด-19แย่ลง
เมื่อวันที่ 17 มีนาคมที่ผ่านมา เว็บไซต์ Medscape รายงานว่า หน่วยงานสาธารณสุขฝรั่งเศสเตือนยาต้านการอักเสบ(Anti-inflammatory drugs) หรือยากลุ่ม NSAIDs (์Nonsteroidal anti-inflammatory drugs) ยกตัวอย่างเช่น ยา Ibuprofen อาจทำให้อาการของโรคโควิด-19 แย่ลง และแนะนำว่า ควรใช้ยา Acetaminophen…
-
ApplicationDrug information
“ยาแก้ปวด” มันรู้ได้อย่างไรว่าเราปวดตรงไหน ???
โดย Pong Jiraโดย Pong Jiraกระทู้จากเว็บไซท์พันทิป (Pantip) ซึ่งมีหัวข้อว่า “ยาแก้ปวดมันรู้ได้อย่างไรว่าเราปวดตรงไหนคะ” โดยผู้ใช้ที่มีชื่อว่า “สมาชิกหมายเลข 3556069” มีเนื้อหาภายในกระทู้ ดังนี้ ยาแก้ปวดมันรู้ได้อย่างไรว่าเราปวดตรงไหนคะ โดนลูกสาว 8 ขวบถามแบบนี้ แม่ไปไม่เป็นเลยค่ะ อธิบายอย่างไรให้เด็ก 8ขวบเข้าใจดีคะ ลูกบอกว่าสังเกตจากปวดหัวแม่ก็ให้กินยาแก้ปวด พ่อปวดฟันหมอก็ให้ยาแก้ปวด แม่ปวดขาไปหาหมอหมอก็ให้ยาแก้ปวด ที่มาของกระทู้: https://pantip.com/topic/38549975…
-
ถ้าพูดถึงยาแก้ปวดเม็ดเล็กๆ สีส้มๆ หลายคนอาจจะร้องอ่อ แต่พอบอกว่ายาแก้ปวด diclofenac น้อยคนนักที่จะจำชื่อยาได้ แต่รู้หรือไม่ว่า ภายใต้สีสันน่าทานของเม็ดยา มีอันตรายอะไรซ่อนอยู่ วันนี้ทีมงานจะมาพูดถึงอันตรายของเจ้ายา Diclofenac ให้ได้ทราบกันค่ะ
-
วันก่อนมีแฟนเพจ ถามคำถามเกี่ยวกับอาการปวดตึงที่เต้านมขณะตั้งครรภ์ ว่ามีอาการปวดมาก จะใช้ยาแก้ปวดตัวไหนดี ที่จะปลอดภัยกับทารกในครรภ์มากที่สุด เชื่อว่าคุณแม่หลายท่านน่าจะมีความสงสัยคล้ายๆกันกับแฟนเพจท่านนี้ ทีมงานจึงอยากนำมาเขียนเป็นบทความสั้นๆ ให้ได้อ่านกันค่ะ
-
Drug informationExperience
กิน ไอบูโพรเฟน(Ibuprofen) ในปริมาณมาก อาจเพิ่มความเสี่ยงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
เวลาปวดหัว ปวดขา ปวดหลัง ยาตัวแรกที่หลายคนนึกถึงคงจะหนีไม่พ้น “ยาพาราเซตามอล” แล้วถ้าหากกินพาราเซตามอลไม่หายจะทำไงดี? แพทย์ก็จะสั่งยาอีกกลุ่มให้นั่นก็คือ “ยากลุ่มแก้ปวดลดอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ หรือ NSAIDs (Non-steroidal Anti-inflammatory drugs )” เช่น ไอบรูโพเฟน ไดโคลฟีแนค หรือแม้แต่เซเลเบรค ซึ่งแพทย์อาจจะสั่งให้กินครั้ง 1-2…