อยู่กับยา – Live with Drug
อยากรู้เรื่องยา ปรึกษาเภสัชกร
  • Newsroom
  • Health
  • Drug information
  • Experience
  • MedTech
Tag:

Non-steroidal Anti-inflammatory drugs

  • COVID19HealthNewsroom

    หน่วยงานสาธารณสุขฝรั่งเศสเตือนยาต้านการอักเสบ(Anti-inflammatory drugs) อาจทำให้อาการของโรคโควิด-19แย่ลง

    โดย Boontharika Boonchaisaen March 19, 2020
    โดย Boontharika Boonchaisaen March 19, 2020

    เมื่อวันที่ 17 มีนาคมที่ผ่านมา เว็บไซต์ Medscape รายงานว่า หน่วยงานสาธารณสุขฝรั่งเศสเตือนยาต้านการอักเสบ(Anti-inflammatory drugs) หรือยากลุ่ม NSAIDs (์Nonsteroidal anti-inflammatory drugs) ยกตัวอย่างเช่น ยา Ibuprofen อาจทำให้อาการของโรคโควิด-19 แย่ลง และแนะนำว่า ควรใช้ยา Acetaminophen…

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • Drug informationHealthNewsroom

    ยาแก้ปวด Diclofenac กับความเสี่ยงของการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น

    โดย Boontharika Boonchaisaen October 14, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen October 14, 2018

    ถ้าพูดถึงยาแก้ปวดเม็ดเล็กๆ สีส้มๆ หลายคนอาจจะร้องอ่อ แต่พอบอกว่ายาแก้ปวด diclofenac น้อยคนนักที่จะจำชื่อยาได้ แต่รู้หรือไม่ว่า ภายใต้สีสันน่าทานของเม็ดยา มีอันตรายอะไรซ่อนอยู่ วันนี้ทีมงานจะมาพูดถึงอันตรายของเจ้ายา Diclofenac ให้ได้ทราบกันค่ะ

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • Drug informationExperienceHealth

    เมื่อมีอาการปวด ยาแก้ปวดตัวไหน ปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์

    โดย Boontharika Boonchaisaen October 10, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen October 10, 2018

    วันก่อนมีแฟนเพจ ถามคำถามเกี่ยวกับอาการปวดตึงที่เต้านมขณะตั้งครรภ์ ว่ามีอาการปวดมาก จะใช้ยาแก้ปวดตัวไหนดี ที่จะปลอดภัยกับทารกในครรภ์มากที่สุด เชื่อว่าคุณแม่หลายท่านน่าจะมีความสงสัยคล้ายๆกันกับแฟนเพจท่านนี้ ทีมงานจึงอยากนำมาเขียนเป็นบทความสั้นๆ ให้ได้อ่านกันค่ะ

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • Drug informationExperience

    กิน ไอบูโพรเฟน(Ibuprofen) ในปริมาณมาก อาจเพิ่มความเสี่ยงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน

    โดย Boontharika Boonchaisaen July 12, 2017
    โดย Boontharika Boonchaisaen July 12, 2017

    เวลาปวดหัว ปวดขา ปวดหลัง ยาตัวแรกที่หลายคนนึกถึงคงจะหนีไม่พ้น “ยาพาราเซตามอล” แล้วถ้าหากกินพาราเซตามอลไม่หายจะทำไงดี? แพทย์ก็จะสั่งยาอีกกลุ่มให้นั่นก็คือ “ยากลุ่มแก้ปวดลดอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ หรือ NSAIDs (Non-steroidal Anti-inflammatory drugs )” เช่น ไอบรูโพเฟน ไดโคลฟีแนค หรือแม้แต่เซเลเบรค ซึ่งแพทย์อาจจะสั่งให้กินครั้ง 1-2…

    0 FacebookTwitterPinterestEmail



Popular Posts

  • 1

    แจกฟรี!!! คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษ ไทย พม่า เขมร เอาไว้ใช้ในโรงพยาบาล

    August 30, 2017
  • 2

    ทำไมยาอาปราคัวร์ Apracur จึงควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

    October 23, 2019
  • 3

    กินยาคุมฉุกเฉิน ผ่านไป 1 อาทิตย์ ประจำเดือนยังไม่มา ผิดปกติหรือไม่

    October 1, 2019
  • 4

    ยาทรามาดอล (Tramadol) ยาแก้ปวดแคปซูลสีเขียวเหลืองกินเกินขนาดอาจตายได้

    July 20, 2017
  • 5

    อาหารประเภทไหนทำให้โพแทสเซียมในร่างกายสูง

    July 4, 2017

Recent Posts

  • ทำความรู้จัก 5 วิตามินช่วยให้ผิวสวยและสุขภาพดี

    January 17, 2023
  • 6 ไอเดียเลือกของขวัญปีใหม่เพื่อสุขภาพ

    November 25, 2022
  • ออฟฟิศซินโดรมคืออะไร มีวิธีรักษาอย่างไร

    November 13, 2022
  • ภาวะ Digoxin intoxication คืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับยาฉีด Insulin

    October 29, 2022
  • น้ำมันปลาและน้ำมันตับปลาทำมาจากอะไร เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

    October 22, 2022

Partner

  • เปิดตัว HONOR X9a สมาร์ตโฟนจอใหญ่ สุดแกร่ง 120Hz แบตอึดถึกทน ราคา 11,990
  • ผู้ใช้ iOS 16.2 บ่นหนัก ยังเจอบั๊คเพียบ! เครื่องช้า คีย์บอร์ดไม่ขึ้น แบตไหล และอื่น ๆ
  • ชมสตรีมสารคดี “Super League: The War for Football” ทั้ง 4 ตอนได้แล้ววันนี้ที่ Apple TV+
  • ข่าวดี! แอป GoodNotes กดอัดเสียงตอนจดโน้ตได้แล้ว
  • แจกฟรี ปฏิทินวันหยุด วันสำคัญ วันพระ ประจำปี 2566 สำหรับ iPhone, iPad และ Mac

อยู่กับยา - Live with Drug



ติดต่อโฆษณา : [email protected] | 085-0005437

  • Facebook
  • Email

@2022 - All Right Reserved.Mod Media Co., Ltd.

อยู่กับยา – Live with Drug
  • Newsroom
  • Health
  • Drug information
  • Experience
  • MedTech