ปัจจุบันโรงพยาบาลหลายแห่งในประเทศไทยมีผู้เข้ามาใช้บริการเป็นชาวต่างชาติจำนวนมาก นับตั้งแต่ประเทศไทยเข้ามาเป็นหนึ่งในอาเซียน ซึ่งปัญหาที่ตามมาของบุคลากรทางการแพทย์หลายท่านนั่นคือ การสื่อสารกับผู้ป่วยหรือผู้มารับบริการในโรงพยาบาล โดยภาษาที่ใช้เป็นสื่อกลางก็คงหนีไม่พ้น.. ภาษาอังกฤษ ซึ่งตอนนี้มีแอปพลิเคชันที่จะช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถฝึกทักษะภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการสื่อสารกับผู้ป่วยได้ง่ายขึ้น ชื่อแอปว่า “HospiTalk”
MedTech
FDA ยอมรับยา Epidiolex ยาที่ผลิตจากกัญชาอย่างถูกกฎหมายในอเมริกา เพื่อใช้รักษาในผู้ป่วยลมชัก
โรคลมชัก(Epilepsy) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่าลมบ้าหมู เป็นโรคท่ีเกิดจากภาวะผิดปกติของสมอง โดยเกิดจากการปลดปล่อยกระแสไฟฟ้าท่ีผิดปกติออกมาชั่วครู่ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติและแสดงอาการโดยการชัก(seizures) เช่น การชักเกร็งกระตุกทั้งตัว และหมดสติ โดยอาการดังกล่าวจะเป็นๆ หายๆ ในระยะเวลาสั้นๆ เช่น 1-3 นาทีและมีอาการเกิดซ้ำมีลักษณะคล้ายเดิม โดยพบประมาณ 4 -10 คน ในประชากรหนึ่งพันคน
FDA อนุมัติแล้ว Aimovig ยาป้องกันไมเกรนรุ่นใหม่ ความหวังของผู้ป่วยไมเกรนเรื้อรัง
ข่าวดีสำหรับผู้ที่กำลังประสบปัญหาปวดศีรษะเรื้อรังจากไมเกรน เนื่องจากเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 17 พ.ค. ที่ผ่านมา องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา(FDA)เผยว่า ได้อนุมัติยาป้องกันไมเกรนรุ่นใหม่ ความหวังของผู้ป่วยไมเกรนเรื้อรังแล้ว ยาตัวนี้มีชื่อเรียกทางการค้าว่า Aimovig (อิโมวิก) ซึ่งผลิตโดย Novartis บริษัทยายักษ์ใหญ่นั่นเองค่ะ
Googleเผยความก้าวล้ำของปัญญาประดิษฐ์ในการใช้ Deep learning เพื่อประเมินผลการรักษาคนไข้ และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า หากพูดถึงเทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) หรือปัญญาประดิษฐ์ น้อยคนนักที่จะไม่รู้จัก ซึ่งบริษัทไอทียักษ์ใหญ่อย่าง Google ก็กำลังให้ความสนใจเทคโนโลยี AI อยู่ในตอนนี้ หากใครติดตามข่าวสารทางด้านเทคโนโลยีหรือไอทีคงพอทราบว่าเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา Google กำลังทำการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ Computer Vision เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่ว่าจะเป็นโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน, โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคหลอดเลือดหัวใจอื่นๆ หลายคนคงสงสัยว่าเทคโนโลยี Computer Vision จะประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้อย่างไร มาชมไปพร้อมๆกันเลยค่ะ
Thai CV risk calculator แอปพลิเคชันเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจและหลอดเลือด
วันนี้แอดมินได้มีโอกาสไปร่วมฟังการประชุมวิชาการหัวข้อ “หัวใจสัญจร” เป็นการบรรยายเกี่ยวกับโรคเส้นเลือดหัวใจและหลอดเลือดจัดขึ้นโดยสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ซึ่งพบเรื่องน่าตกใจเพราะจากข้อมูลสถิติองค์การอนามัยโลก ปี 2555 รายงานว่า
แอป RDU รู้เรื่องยา แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้คุณรอบรู้เรื่องยามากขึ้น
ในยุคไทยแลนด์ 4.0 แบบนี้ คงไม่ใช่แค่งานด้านไอทีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลเท่านั้น เพราะปัจจุบันทุกหน่วยงานต่างพัฒนาให้องค์กรของตนก้าวทันเทคโนโลยีกันทั้งสิ้น ด้านสุขภาพและการใช้ยาก็เช่นกันเดียวกัน วันนี้ทีมงานอยู่กับยา มีแอปพลิเคชันดีๆที่จะช่วยให้คุณรอบรู้เรื่องยามากขึ้นด้วยตัวเอง แอปพลิเคชันนี้ชื่อว่า “RDU รู้เรื่องยา” ค่ะ
แนะนำวิธีค้นหาพิกัดร้านยาง่ายๆ ด้วย Oryor Smart Application
เคยมั้ยคะ… เวลาไปเที่ยวต่างจังหวัดแต่เกิดไม่สบายขึ้นมากะทันหัน แต่ในขณะนั้นไม่รู้ว่าจะไปหาร้านยาได้ที่ไหน ปัญหานั้นจะหมดไปเพียงแค่คุณโหลดแอปพลิเคชัน Oryor smart application ลงไว้ที่สมาร์ทโฟนของคุณค่ะ
The mask patients หน้ากากคนไข้ ตัวช่วยในการตรวจมะเร็งปากมดลูก
เมื่อพูดถึงมะเร็งที่มาคู่กับผู้หญิง หลายคนมักจะนึกถึงมะเร็งเต้านม แต่รู้หรือไม่ว่ายังมีมะเร็งอีกหนึ่งชนิด ที่ควรให้ความสำคัญและเฝ้าระวัง นั่นก็คือ มะเร็งปากมดลูกค่ะ จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับสองของมะเร็งในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม โดยมีอุบัติการณ์(age-standardized incidence rate; ASR) ประมาณ 18.1 รายต่อประชากรหญิง 100,000 คนต่อปีโดยพบในอัตราแตกต่างกันออกไปในแต่ละภูมิภาค
ขาเทียมสุดชิคไม่เหมือนใคร ออกแบบมาเพื่อเอาใจคนพิการ
วันนี้ทีมงานอยู่กับยา มีข่าวดีมาเอาใจคนพิการกันค่ะ คนพิการที่ว่านี้ก็คือ คนที่พิการขาขาด อาจมาสาเหตุขาด้วนพิการมาแต่กำเนิด หรืออาจเพิ่งถูกตัดขาจากโรคประจำตัวหรืออุบัติเหตุก็เป็นได้
เชื่อหรือไม่ว่าน้องหมาสามารถช่วยบำบัดสภาพจิตใจคนไข้ได้
หากพูดถึงการบำบัด หลายคนอาจจะนึกไปถึง ดนตรีบำบัด กายภาพบำบัด หรือจิตบำบัด แต่เชื่อหรือไม่ว่า ปัจจุบันมีการบำบัดอีกอย่าง ที่เราอาจไม่เคยนึกถึง นั่นก็คือ “สุนัขบำบัด” … ใช่แล้วค่ะ น้องหมาที่น่ารักของเรานั่นเอง นอกจากเราจะเลี้ยงมันไว้เพื่อเฝ้าบ้าน หรือไว้ดูเล่น แต่ประโยชน์อีกอย่างหนึ่งของเจ้าน้องหมาสี่ขาครับ คือ การบำบัดหรือรักษาโรคนั่นเอง