อยู่กับยา – Live with Drug
อยากรู้เรื่องยา ปรึกษาเภสัชกร
  • Newsroom
  • Health
  • Drug information
  • Experience
  • MedTech
Author

Boontharika Boonchaisaen

Boontharika Boonchaisaen

จบการศึกษาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาเภสัชกรรมคลินิก จาก ม.มหาสารคาม จบวุฒิบัตรด้านการเตรียมผสมยาเคมีบำบัดและบริบาลผู้ป่วยมะเร็งจากคณะเภสัชศาสตร์ ม.ขอนแก่น และได้รับประกาศนียบัตรด้านการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด(วาร์ฟาริน)จากรพ.ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ รวมถึงเคยมีผลงานการเขียนเล่าเรื่องทางการแพทย์(Narrative medicine) ลงวารสารมูลนิธิ รพ.สมเด็จพระยุพราชแห่งประเทศไทย

  • Drug informationExperienceHealth

    เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ในปี พ.ศ. 2561

    โดย Boontharika Boonchaisaen August 25, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen August 25, 2018

    หลังจากที่มีข่าวการเสียชีวิตของพนักงานสาวร้านบาบีคิวแห่งหนึ่งในจังหวัดอุทัยธานี ด้วยเชื้อไข้หวัดใหญ่ H1N1 เมื่อไม่นานมานี้ ทำให้หลายคนอาจกำลังตื่นตระหนกเรื่องการระบาดของโรคดังกล่าว และอาจเคยได้ยินเรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่นี้มาบ้างแล้ว แต่สำหรับบางคนที่กำลังงง และสงสัยว่า ทำไมวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่นั้นมีทั้ง 4 สายพันธุ์ และ 3 สายพันธุ์? มันต่างกันยังไง? และฉีดแค่ 3 สายพันธุ์ จะปลอดภัยและป้องกันเชื้อไข้หวัดใหญ่ได้หรือไม่ วันนี้ทีมงานอยู่กับยาจะมาไขข้อข้องใจให้ได้ทราบกันจ้า

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • Drug informationExperienceHealth

    ยาเบาหวาน Metformin กับการรักษาภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ(Polycystic Ovary Syndrome)

    โดย Boontharika Boonchaisaen August 21, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen August 21, 2018

    วันนี้แอดมินมีบทความดีๆ สำหรับคุณผู้หญิงที่เพิ่งแต่งงาน หรืออาจจะแต่งงานนานแล้ว และกำลังวางแผนครอบครัวเรื่องมีบุตรอยู่ อยากให้อ่านกันดูค่ะ เพราะหลายท่านที่กำลังวางแผนตั้งครรภ์แต่อาจโชคร้ายตรวจพบว่ากำลังเป็นภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบหรือเรียกสั้นๆว่า PCOS อยู่ ซึ่งคุณหมอบางท่านอาจสั่งยาเบาหวานให้รับประทาน นั่นคือยา Metformin(เมทฟอร์มิน) แต่เอ๊ะ! ตัวเองก็ไม่ได้เป็นเบาหวานนี่นา แล้วคุณหมอทำไมถึงสั่งยาเบาหวานให้ล่ะ สงสัยใช่มั้ยคะว่า ทำไม? ยาตัวนี้เกี่ยวอะไรกับภาวะมีบุตรยาก มาไขข้อข้องใจไปพร้อมกันเลยค่ะ

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • Drug informationExperienceHealth

    ยาที่ต้องระวังในผู้มีภาวะพร่องเอนไซม์ จี-6-พี-ดี

    โดย Boontharika Boonchaisaen July 8, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen July 8, 2018

    เวลาเภสัชกรจ่ายยา.. นอกจากคำถามที่เราเคยได้ยินกันเป็นประจำว่า ชื่อ-นามสกุลอะไร, มีประวัติแพ้ยาหรือไม่, มีโรคประจำตัวอะไรบ้าง ยังมีอยู่อีกหนึ่งคำถามที่เภสัชกรทุกคนควรใส่ใจนั่นก็คือ “เป็นจี-6-พี-ดีหรือไม่?”  หลายคนอาจกำลังงงว่า “จี-6-พี-ดีคืออะไร” และสำคัญอย่างไร ทำไมถึงต้องถามก่อนจ่ายยาด้วย วันนี้ทีมงานอยู่กับยาจะมาอธิบายให้เข้าใจกันค่ะ

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • BeautyDrug informationHealth

    เรื่องน่ารู้ก่อนตัดสินใจรับประทานยารักษาสิว Isotretinoin

    โดย Boontharika Boonchaisaen July 1, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen July 1, 2018

    สิว… อาจเป็นเรื่องธรรมชาติ แต่คงไม่มีใครอยากให้เรื่องธรรมชาตินี้เกิดขึ้นกับตัวเองใช่ไหมคะ เพราะถ้าสิวอยู่กับขึ้นที่หน้าเราแค่เม็ดเดียว แต่อาจทำให้เสียความมั่นใจไปหลายวัน

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • Drug informationExperience

    ยาที่ต้องระวัง หากมีประวัติแพ้ยากลุ่มซัลฟา(Sulfa Drug Allergy)

    โดย Boontharika Boonchaisaen June 3, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen June 3, 2018

    ,วันก่อนมีพี่ชายที่สนิทกับแอดมินโทรมาปรึกษาว่า คุณแม่ของพี่เขามีอาการท้องเสีย มีไข้ร่วมด้วย เหมือนจะติดเชื้อ “แต่คุณแม่มีประวัติแพ้ยาซัลฟา จะสามารถกินยา Norfloxacin ได้หรือไม่?” เชื่อว่า… ไม่เพียงแต่พี่ชายคนนั้นที่สงสัย น่าจะมีแฟนเพจอีกหลายคนที่เคยเกิดคำถามนี้ขึ้นในใจเช่นกัน วันนี้ทีมงานอยู่กับยาจะมาไขข้อสงสัย ให้ได้ทราบไปพร้อมกันค่ะ

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • Drug informationMedTechNewsroom

    FDA อนุมัติแล้ว Aimovig ยาป้องกันไมเกรนรุ่นใหม่ ความหวังของผู้ป่วยไมเกรนเรื้อรัง

    โดย Boontharika Boonchaisaen May 20, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen May 20, 2018

    ข่าวดีสำหรับผู้ที่กำลังประสบปัญหาปวดศีรษะเรื้อรังจากไมเกรน เนื่องจากเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 17 พ.ค. ที่ผ่านมา องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา(FDA)เผยว่า ได้อนุมัติยาป้องกันไมเกรนรุ่นใหม่ ความหวังของผู้ป่วยไมเกรนเรื้อรังแล้ว ยาตัวนี้มีชื่อเรียกทางการค้าว่า Aimovig (อิโมวิก) ซึ่งผลิตโดย Novartis บริษัทยายักษ์ใหญ่นั่นเองค่ะ

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • HealthMedTechNewsroom

    Googleเผยความก้าวล้ำของปัญญาประดิษฐ์ในการใช้ Deep learning เพื่อประเมินผลการรักษาคนไข้ และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ

    โดย Boontharika Boonchaisaen May 14, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen May 14, 2018

    ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า หากพูดถึงเทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) หรือปัญญาประดิษฐ์ น้อยคนนักที่จะไม่รู้จัก ซึ่งบริษัทไอทียักษ์ใหญ่อย่าง Google ก็กำลังให้ความสนใจเทคโนโลยี AI อยู่ในตอนนี้ หากใครติดตามข่าวสารทางด้านเทคโนโลยีหรือไอทีคงพอทราบว่าเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา Google กำลังทำการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ Computer Vision เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่ว่าจะเป็นโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน, โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคหลอดเลือดหัวใจอื่นๆ หลายคนคงสงสัยว่าเทคโนโลยี Computer…

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • ExperienceHealthNutrition

    รับประทานอาหารอย่างไร หลังผ่าตัดกระเพาะอาหารในผู้ป่วยมะเร็ง

    โดย Boontharika Boonchaisaen May 8, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen May 8, 2018

    วันก่อนมีคนไข้มะเร็งกระเพาะอาหารรายหนึ่งมาปรึกษาที่คลินิกเคมีบำบัดว่า… เวลากินนมทุกครั้งจะอาเจียน พะอืดอะอมตลอด และมารับยาเคมีบำบัดครั้งนี้ คนไข้ดูซูบลง ชั่งน้ำหนักพบว่า น้ำหนักลด 3 กิโลกรัม เนื่องจากกินอาหารไม่ค่อยได้ จะมีวิธีแก้ไขอย่างไร และปฏิบัติตัวอย่างไร ให้อาการดังกล่าวดีขึ้นบ้าง

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • Drug informationHealthNewsroom

    รับประทานยาพาราเซตามอลอย่างไร ให้ไม่เป็นอันตรายต่อตับ

    โดย Boontharika Boonchaisaen May 6, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen May 6, 2018

    วันนี้มีคำถามจากแฟนเพจถามมาว่า “พาราเซตามอลขนาด 500 mg ควรทานแค่วันละเม็ดใช่หรือไม่ ถ้ากินวันละ 4 เม็ด อันตรายหรือเปล่า” วันนี้ทีมงานอยู่กับยา จะมาไขข้อสงสัยให้ได้ทราบกันค่ะ ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับเจ้าพาราเซตามอลกันก่อนดีกว่า ยาพาราเซตามอล เป็นยาสามัญประจำบ้าน สรรพคุณของยาพาราเซตามอล(Paracetamol หรือ Acetaminophen) คือช่วยระงับปวดและลดไข้ ถูกนำมาใช้ในทางการแพทย์ตั้งแต่ พ.ศ.2436…

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
  • HealthNutrition

    ทุเรียน ราชาผลไม้(King of fruits)ที่อันตรายต่อผู้ป่วยเบาหวาน

    โดย Boontharika Boonchaisaen April 26, 2018
    โดย Boontharika Boonchaisaen April 26, 2018

    เดี๋ยวนี้มองไปทางไหนก็มีแต่ทุเรียน ที่เขาว่ากันว่าเป็น “King of fruits”หรือ“ราชาแห่งผลไม้” วางขายเรียงรายเต็มไปหมด สำหรับคนที่โปรดปรานรสชาติและกลิ่นของทุเรียนคงจะรู้สึกฟินและมีความสุขมาก แต่หารู้ไม่ว่า.. หากคุณผู้บริโภคทั้งหลายรับประทานทุเรียนมากเกินไป อาจเกิดอันตรายถึงชีวิต

    0 FacebookTwitterPinterestEmail
โพสต์ที่ใหม่กว่า
โพสต์ก่อนหน้า



Popular Posts

  • 1

    ทำไมยาอาปราคัวร์ Apracur จึงควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

    October 23, 2019
  • 2

    ยาทรามาดอล (Tramadol) ยาแก้ปวดแคปซูลสีเขียวเหลืองกินเกินขนาดอาจตายได้

    July 20, 2017
  • 3

    กินยาคุมฉุกเฉิน ผ่านไป 1 อาทิตย์ ประจำเดือนยังไม่มา ผิดปกติหรือไม่

    October 1, 2019
  • 4

    กิน ไอบูโพรเฟน(Ibuprofen) ในปริมาณมาก อาจเพิ่มความเสี่ยงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน

    July 12, 2017
  • 5

    แจกฟรี!!! คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษ ไทย พม่า เขมร เอาไว้ใช้ในโรงพยาบาล

    August 30, 2017

Recent Posts

  • ทำความรู้จัก 5 วิตามินช่วยให้ผิวสวยและสุขภาพดี

    January 17, 2023
  • 6 ไอเดียเลือกของขวัญปีใหม่เพื่อสุขภาพ

    November 25, 2022
  • ออฟฟิศซินโดรมคืออะไร มีวิธีรักษาอย่างไร

    November 13, 2022
  • ภาวะ Digoxin intoxication คืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับยาฉีด Insulin

    October 29, 2022
  • น้ำมันปลาและน้ำมันตับปลาทำมาจากอะไร เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

    October 22, 2022

Partner

  • iOS 18, iPadOS 18, macOS Sequoia Beta 2 อาจปล่อยอัปเดต สัปดาห์ 24 มิ.ย. 2024
  • รวมคำถาม-คำตอบ โปรโมชัน Back to School 2567 (2024)
  • มาแล้ว! Back to School 2024 ซื้อ Mac รับฟรี​ AirPods, ซื้อ iPad รับฟรี Apple Pencil
  • รู้หรือไม่? iPhone iPad ใช้ “สองนิ้ว” เพื่อเลือกหลาย ๆ รายการได้
  • MXFRUIT ส่ง Dance Performance ที่ถ่ายด้วย iPhone 15 Pro Max

อยู่กับยา - Live with Drug



ติดต่อโฆษณา : [email protected] | 085-0005437

  • Facebook
  • Email

@2022 - All Right Reserved.Mod Media Co., Ltd.

อยู่กับยา – Live with Drug
  • Newsroom
  • Health
  • Drug information
  • Experience
  • MedTech